ทดสอบการใช้งานบนถนนจริง ของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ทดสอบการใช้งานบนถนนจริง ของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ทดสอบการใช้งานบนถนนจริง ของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ทดสอบการใช้งานบนถนนจริง ของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เพื่อหาค่าการยุบตัวของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก จากการวิ่งผ่านของรถ โดยติดตั้ง LVDT เพื่อวัดการยุบตัวของท่อหลังจากที่รถวิ่งผ่าน โดยจำลองสถานะการจากน้ำหนักบรรทุกขนาด 12ตัน 30ตัน และ 45 ตัน และการวิ่งผ่านท่อใน 2 รูปแบบตามแนวยาวและแนวขวาง ท่อที่เราใช้คือท่อขนาด 800 มม.จากมาตรฐาน ASTM F2435 define pipe stiffness at 0.4 Mpa/40 tons with 5% ของท่อ

ผลการทดสอบท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ผลการทดสอบพบว่า ที่น้ำหนัก 45 ตัน เกิดการยุบตัวท่อจากเส้นศูนย์เกิดการเปลี่ยนแปลงเพียง 9.9 มิลลิเมตร หรือ 1.24% เท่านั้นซึ่งผ่านมาตรฐานที่ 5% เพื่อเป็นการพิสูจน์คุณภาพท่อของเรา

ทำการทดสอบให้รถวิ่งผ่าน แล้วทำำการวัดขนาดของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก
ทำการจำลองขุดและวางท่อเพื่อทดสอบโดยการวางท่อ และติดตั้งแต่ LVDT ทดสอบการใช้งานบนถนนจริง ของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ทดสอบการใช้งานบนถนนจริง ของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ทำการทดสอบให้รถวิ่งผ่าน แล้วทำำการวัดขนาดของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก 

หาค่าการยุบตัวของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก จากการวิ่งผ่านของรถ
หาค่าการยุบตัวของท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก จากการวิ่งผ่านของรถ

เส้นทางการวิ่งของรถทดสอบ และตำแหน่งการติดตั้ง LVDT
เส้นทางการวิ่งของรถทดสอบ และตำแหน่งการติดตั้ง LVDT

ทิศทางการวิ่งแนวขวาง

การทดสอบตามแนวขวางของท่อ

โครงสร้างท่อลอนพอลิเอทิลีนเสริมเหล็ก

ท่อลอนพีพีเสริมเหล็ก แบ่งโครงสร้างหลักออกเป็น 3 ชั้น

1. ผนังชั้นนอก คือชั้นพลาสติกชนิด HDPE เพื่อป้องกันการกัดกร่อน และทรุดตัวของพื้น

2. ผนังชั้นกลาง คือชั้นของเหล็กดัดเป็นทรง V-shape เพื่อรับแรงกดทับ และชุบ Zinc เพื่อป้องกันสนิม

3. ผังชั้นใน คือชั้นของพลาสติกชนิด HDPE เพื่อป้องกันการทรุดตัวของพื้นดิน และช่วยให้น้ำไหลผ่านได้ดี